วันอังคารที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

โดเมนและเรนจ์

โดเมนและเรนจ์
 พิจารณาเซตของสมาชิกตัวหน้า  และเซตของสมาชิกตัวหลังในคู่อันดับของความสัมพันธ์เช่น
 r  =  {(1,2),(2,4),(3,6),(4,8),(5,10)}
เซตของสมาชิกตัวหน้าในคู่อันดับของ  r  คือ  {1,2,3,4,5}  เรียกเซตของสมาชิกตัวหน้าในคู่อันดับของความสัมพันธ์  r  ว่า  โดเมน  ของ  r  เขียนแทนด้วย และเซตของสมาชิกตัวหลังในคู่อันดับของ  r  คือ  {2,4,6,8,10}  เรียกเซตของสมาชิกตัวหลังในคู่อันดับของความสัมพันธ์  r  ว่า เรนจ์ ของ  r  เขียนแทนด้วย         อ่านเพิ่มเติม

วันพุธที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน

ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
คู่อันดับ (Order Pairเป็นการจับคู่สิ่งของโดยถือลำดับเป็นสำคัญ เช่น คู่อันดับ ab จะเขียนแทนด้วย (ab) เรียก a ว่าเป็นสมาชิกตัวหน้า และเรียก b ว่าเป็นสมาชิกตัวหลัง(การเท่ากับของคู่อันดับ) (ab) = (c, d) ก็ต่อเมื่อ a = c และ b = dผลคูณคาร์ทีเชียน (Cartesian Product) ผลคูณคาร์ทีเซียนของเซต A และเซต B คือ เซตของคู่อันดับ (ab) ทั้งหมด โดยที่ a เป็นสมาชิกของเซต A และ b เป็นสมาชิกของเซต B         อ่านต่อ
https://www.google.co.th/search?q=%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B9%8C%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%9F%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B9%8C%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B8%99&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ved=0ahUKEwjEkJerqYPVAhXEqI8KHQEXB7cQ_AUIBygC&biw=1366&bih=662#imgrc=tvmZ2vs865g-hM:

การนําสมบัติของจํานวนจริงไปใช้ในการแก้สมการกําลังสอง

การนําสมบัติของจํานวนจริงไปใช้ในการแก้สมการกําลังสอง
การนำสมบัติของจำนวนจริงไปใช้ในการแก้สมการกำลังสองตัวแปร : อักษรภาษาอังกฤษตัวเล็ก เช่น x , y ที่ใช้เป็นสัญลักษณ์แทนจำนวนค่าคงตัว : ตัวเลขที่แททนจำนวน เช่น 1, 2นิพจน์ : ข้อความในรูปสัญลักษณื เช่น 2, 3x ,x-8 ,เอกนาม : นิพจน์ที่เขียนอยู่ในรูปการคูณของค่าคงตัวแปรตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไปที่มีเลขชี้กำลังของตัวแปรเป็นจำนวนเต็มบวกหรือศูนย์ เช่น -3, 5xy , 2yพหุนาม : นิพจน์ที่สามารถเขียนในรูปของเอกนาม หรือการบวกเอกนามตั้งแต่สองเอก นามขึ้นไป เช่น 3x , 5x +15xy+10x+5      อ่านต่อ
https://www.google.co.th/search?q=%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%99%E0%B9%8D%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%88%E0%B9%8D%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B8%88%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%9B%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B9%8D%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%AD%E0%B8%87&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ved=0ahUKEwitz4ujqIPVAhVEsY8KHSTZCLgQ_AUICygC&biw=1366&bih=662#imgrc=Mve9Y1o6It72cM:

สมบัติของจํานวนจริงเกี่ยวกับการบวกและการคูณ

สมบัติของจํานวนจริงเกี่ยวกับการบวกและการคูณ
จำนวนจริง
จำนวนตรรกยะ (rational number) เป็นจำนวนจริงที่สามารถเขียนได้ในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็มที่ตัวส่วนไม่เป็นศูนย์ และเขียนในรูปทศนิยมซ้ำได้
จำนวนอตรรกยะ (irrational number) เป็นจำนวนจริงที่ไม่ใช่จำนวนตรรกยะซึ่งไม่สามารถเขียนในรูปทศนิยมซ้ำหรือเศษส่วนของจำนวนเต็มที่ตัวส่วนไม่เป็นศูนย์แต่เขียนได้ในรูปทศนิยมไม่ซ้ำ และ
สามารถกำหนดค่าโดยประมาณได้    อ่านต่อ
https://www.google.co.th/search?q=%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%88%E0%B9%8D%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B8%88%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9A%E0%B8%A7%E0%B8%81%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%B9%E0%B8%93&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ved=0ahUKEwjd3vCSp4PVAhUBNo8KHW6dALIQ_AUICygC&biw=1366&bih=662#imgrc=O-sHnnuNtqjwUM:

จำนวนจริง

จำนวนจริง
จำนวนจริง คือจำนวนที่สามารถจับคู่หนึ่งต่อหนึ่งกับจุดบนเส้นตรงที่มีความยาวไม่สิ้นสุด (เส้นจำนวน) ได้ คำว่า จำนวนจริง นั้นบัญญัติขึ้นเพื่อแยกเซตนี้ออกจากจำนวนจินตภาพ จำนวนจริงเป็นศูนย์กลางการศึกษาในสาขาคณิตวิเคราะห์จำนวนจริง (real analysis)
มีหลักเกณฑ์ในการแบ่งจำนวนจริงอยู่หลายเกณฑ์ เช่น จำนวนตรรกยะ หรือ จำนวนอตรรกยะจำนวนพีชคณิต (algebraic number) หรือ จำนวนอดิศัย; และ จำนวนบวก จำนวนลบ หรือ ศูนย์    อ่านต่อ
https://www.google.co.th/search?q=%E0%B8%88%E0%B8%B3%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B8%88%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%87&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ved=0ahUKEwjb9Mu7poPVAhUQSY8KHesaAbMQ_AUICigB&biw=1366&bih=662#imgrc=w-Cp8l6LDKQ5PM:

การให้เหตุผลแบบนิรนัย

การให้เหตุผลแบบนิรนัย
การให้เหตุผลแบบนิรนัยเป็นการนำความรู้พื้นฐานซึ่งอาจเป็นความเชื่อ ข้อตกลง กฎ หรือบทนิยาม ซึ่งเป็นสิ่งที่รู้มาก่อน และยอมรับว่าเป็นความจริงเพื่อหาเหตุผลนำไปสู่ข้อสรุป เป็นการอ้างเหตุผลที่มีข้อสรุปตามเนื้อหาสาระที่อยู่ภายในขอบเขตของข้ออ้างที่กำหนด
  ตัวอย่างที่ 1      เหตุ   1.สัตว์เลี้ยงทุกตัวเป็นสัตว์ไม่ดุร้าย
                                                     2. แมวทุกตัวเป็นสัตว์เลี้ยง
                                            ผล     แมวทุกตัวเป็นสัตว์ไม่ดุร้าย          อ่านต่อ

https://www.google.co.th/search?q=%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%95%E0%B8%B8%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%A3%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%A2&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ved=0ahUKEwirlofbpYPVAhUHN48KHWQPDbAQ_AUICigB&biw=1366&bih=662#imgrc=ya5D7LepI84fJM:

การให้เหตุผลแบบอุปนัย

การให้เหตุผลแบบอุปนัย
การให้เหตุผลแบบอุปนัย (Inductive Reasoning) เกิดจากการที่มีสมมติฐานกรณีเฉพาะ หรือเหตุย่อยหลายๆ เหตุ เหตุย่อยแต่ละเหตุเป็นอิสระจากกัน มีความสำคัญเท่าๆ กัน และเหตุทั้งหลายเหล่านี้ไม่มีเหตุใดเหตุหนึ่งแสดงให้เห็นถึงความเป็นสมมติฐานกรณีทั่วไป หรือกล่าวได้ว่า การให้เหตุผลแบบอุปนัยคือการนำเหตุย่อยๆ แต่ละเหตุมารวมกัน เพื่อนำไปสู่ผลสรุปเป็นกรณีทั่วไป เช่นตัวอย่างการให้เหตุผลแบบอุปนัย      อ่านต่อ
https://www.google.co.th/search?q=%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%95%E0%B8%B8%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%A2&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ved=0ahUKEwj8sOSepYPVAhUMOo8KHcLqAboQ_AUICigB&biw=1366&bih=662#imgrc=LxiWZ9M5KsxBiM:

ยูเนียน อินเตอร์เซกชันและคอมพลีเมนต์ของเซต

ยูเนียน อินเตอร์เซกชันและคอมพลีเมนต์
การดำเนินการของเซต เวลาพูดถึงการดำเนินการของอะไรสักอย่างจะเป็นอะไรที่ยากแก่การเข้าใจ แต่จริง ๆ แล้ว การดำเนินการก็คือ การที่เอาของสองสิ่งมาทำอะไรกันสักอย่าง เช่น เวลาเรามีตัวเลขสองตัว แล้วเราเอามาบวกลบกัน การบวก หรือ ลบ นั้นถือเป็นการดำเนินการชนิดนึง ดังนั้นการดำเนินการของเซตก็คือ การเอาเซตสองเซตมาทำอะไรกันสักอย่าง ทีนี้เราต้องดูว่าถ้าเรามีเซตสองเซต จะทำอะไรกันได้บ้าง    อ่านต่อ
https://www.google.co.th/search?q=%E0%B8%A2%E0%B8%B9%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99+%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%81%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B9%8C%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%95&tbm=isch&imgil=8wRAs1eZFjDzHM%253A%253BbmRWF1HIh9LvaM%253Bhttps%25253A%25252F%25252Fnutnuntasen.wordpress.com%25252F%25252525E0%25252525B8%25252525A2%25252525E0%25252525B8%25252525B9%25252525E0%25252525B9%2525252580%25252525E0%25252525B8%2525252599%25252525E0%25252525B8%25252525B5%25252525E0%25252525B8%25252525A2%25252525E0%25252525B8%2525252599-%25252525E0%25252525B8%25252525AD%25252525E0%25252525B8%25252525B4%25252525E0%25252525B8%2525252599%25252525E0%25252525B9%2525252580%25252525E0%25252525B8%2525252595%25252525E0%25252525B8%25252525AD%25252525E0%25252525B8%25252525A3%25252525E0%25252525B9%252525258C%25252525E0%25252525B9%2525252580%25252525E0%25252525B8%252525258B%25252525E0%25252525B8%2525252581%25252525E0%25252525B8%252525258A%25252525E0%25252525B8%25252525B1%25252525E0%25252525B8%2525252599%25252525E0%25252525B9%2525252581%25252F&source=iu&pf=m&fir=8wRAs1eZFjDzHM%253A%252CbmRWF1HIh9LvaM%252C_&usg=__DnvQltg_Cb8JyaEisFgU2n7n6h0%3D&biw=1366&bih=662&ved=0ahUKEwj9oZeepIPVAhUFTI8KHTgAB68QyjcIRA&ei=CthlWf30HIWYvQS4gJz4Cg#imgrc=8wRAs1eZFjDzHM:

สับเซตและเพาเวอร์เซต

สับเซตและเพาเวอร์เซต
สับเซตและเพาเวอร์เซต เป็นหัวข้อหนึ่งจากบทเรียนเรื่อง เซต ในวิชาคณิตศาสตร์ ม.4 ซึ่งจะมีนิยาม และสมบัติของมัน เราลองมาเรียนกันครับว่าสับเซตและเพาเวอร์เซตเป็นอย่างไร
ถ้าสมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B แล้ว จะเรียกว่า A เป็นสับเซตของ B จะเขียนว่า
เซต A เป็นสับเซตของเซต B แทนด้วย A ⊂ B
ถ้าสมาชิกบางตัวของ A ไม่เป็นสมาชิกของ B จะเรียกว่า A ไม่เป็นสับเซตของ B
เซต A ไม่เป็นสับเซตของเซต B แทนด้วย A ⊄ B       อ่านต่อ
https://www.google.co.th/search?q=%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%95%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%95&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ved=0ahUKEwj38v2Po4PVAhVBQ48KHXJrArQQ_AUICigB&biw=1366&bih=662#imgrc=42TZRy2WG4gNPM:

เอกภพสัมพัทธ์

เอกภพสัมพัทธ์
เอกภพสัมพัทธ์ คือ เซตที่ประกอบด้วยสมาชิกทั้งหมดของสิ่งที่เราต้องการจะศึกษา สามารถเขียนแทนได้ด้วยสัญลักษณ์ u
  เอกภพสัมพัทธ์ (Relative Universe) ในการพูดถึงเรื่องใดก็ตามในแง่ของเซต  เรามักมีขอบข่ายในการพิจารณาสมาชิกของเซตที่จะกล่าวถึง  โดยมีข้อตกลงว่าเราจะไม่กล่าวถึงสิ่งใดนอกเหนือไปจากสมาชิก ของเซตที่กำหนดขึ้น เช่น ถ้าเรากำหนดเซตของสมาชิกทุกคนในครอบครัวของผู้เรียนเองให้เป็นเซตใหญ่ที่สุด  เราจะเรียกเซตนี้ว่า         อ่านต่อ
https://www.google.co.th/search?q=%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%A0%E0%B8%9E%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B9%8C&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ved=0ahUKEwieusuaooPVAhVDso8KHe-bD7IQ_AUICygC&biw=1366&bih=662#imgrc=Unlc8JVqH-eFBM:

เซต

เซต
เซต  เป็นคำที่ใช้บ่งบอกถึงกลุ่มของสิ่งต่างๆ และเมื่อกล่าวถึงกลุ่มใดแน่นอนว่าสิ่งใดอยู่ในกลุ่ม สิ่งใดไม่อยู่ในกลุ่ม เช่น 
 เซตสระในภาษาอังกฤษ  หมายถึง  กลุ่มของอังกฤษ  a, e, i, o และ u
       เซตของจำนวนนับที่น้อยกว่า 10 หมายถึง  กลุ่มตัวเลข 1,2,3,4,5,6,7,8,และ9
        สิ่งที่ในเชตเรียกว่า  สมาชิก  ( element หรือ members )       อ่านต่อ
https://www.google.co.th/search?q=%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%95&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ved=0ahUKEwiEsKjUn4PVAhVMpY8KHVJXCrAQ_AUICygC&biw=1366&bih=662#imgrc=xYtGfvlP0sqpcM:

ความสัมพันธ์

ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์  อาจหมายถึง == ผูกพัน เกี่ยวข้อง ความสัมพันธ์ทางสังคม  ในสังคมศาสตร์ เป็นความสัมพันธ์ทางสังคมระหว่างบุคคลที่มากก...