วันพุธที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

การให้เหตุผลแบบอุปนัย

การให้เหตุผลแบบอุปนัย
การให้เหตุผลแบบอุปนัย (Inductive Reasoning) เกิดจากการที่มีสมมติฐานกรณีเฉพาะ หรือเหตุย่อยหลายๆ เหตุ เหตุย่อยแต่ละเหตุเป็นอิสระจากกัน มีความสำคัญเท่าๆ กัน และเหตุทั้งหลายเหล่านี้ไม่มีเหตุใดเหตุหนึ่งแสดงให้เห็นถึงความเป็นสมมติฐานกรณีทั่วไป หรือกล่าวได้ว่า การให้เหตุผลแบบอุปนัยคือการนำเหตุย่อยๆ แต่ละเหตุมารวมกัน เพื่อนำไปสู่ผลสรุปเป็นกรณีทั่วไป เช่นตัวอย่างการให้เหตุผลแบบอุปนัย      อ่านต่อ
https://www.google.co.th/search?q=%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%95%E0%B8%B8%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%A2&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ved=0ahUKEwj8sOSepYPVAhUMOo8KHcLqAboQ_AUICigB&biw=1366&bih=662#imgrc=LxiWZ9M5KsxBiM:

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

ความสัมพันธ์

ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์  อาจหมายถึง == ผูกพัน เกี่ยวข้อง ความสัมพันธ์ทางสังคม  ในสังคมศาสตร์ เป็นความสัมพันธ์ทางสังคมระหว่างบุคคลที่มากก...